กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช
ดูแลงานด้านการอนุรักษ์และปลูกป่าทดแทน หน่วยงานที่รับผิดชอบคือ โครงการศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดกลุ่มประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 9 อุบลราชธานี
กิจกรรมหลัก สาธิตการปลูกป่า การเพาะชำกล้าไม้ การเพาะชำกล้าหวาย บำรุงรักษาสวนเดิม 2-6 ปี เช่น ป่าอาหารนก ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง บำรุงไม้สองข้างทาง บำรุงและส่งเสริมการขยายพันธุ์หวาย สาธิตจัดทำแปลงธนาคารอาหารชุมชน การสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น พื้นที่ 80 ไร่
ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
การดำเนินงาน
1. กิจกรรมอำนวยการและบริหารโครงการ
- การเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่โครงการ
- การบริหารงานสำนักงานโครงการ
- การเพิ่มศักยภาพให้กับบุคลากรในหน่วยงาน
- การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูล
- การมีส่วนร่วมกับหน่วยงานต่างๆ
- การติดตามการดำเนินงานต่างๆ และประสานงานเพื่อดำเนินงานตามข้อสั่งการต่างๆ
2. กิจกรรมงานบำรุงสาธิตและส่งเสริมการขยายพันธุ์หวาย
๔. กิจกรรมงานสาธิตธนาคารอาหารชุมชน
4. กิจกรรมงานบำรุงรักษาสวนหวาย อายุ 2 - 6 ปี เนื้อที่ 50 ไร่
สวนหวาย มีการเริ่มปลูกในปีงบประมาณ 2550 มีพื้นที่ทั้งหมด 50 ไร่ ได้รับสนับสนุนงบประมาณในการปลูกหวายจากสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ปีงบประมาณ 2556 ถือเป็นปีที่ 7 ในการบำรุงรักษา ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
- ซ่อมทางตรวจการ
- การดายวัชพืช
- จัดเวรยามป้องกันไฟป่า
- การริดกิ่ง
มขังในพื้นที่แปลงสาธิตภายในโครงการ
- เป็นการสาธิต ปรับปรุงและวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในพื้นที่โครงการซึ่งสามารถนำไปถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรได้
3. กิจกรรมการก่อสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้นแบบผสมผสาน
ประโยชน์ในอนาคต เป็นแนวเขตแสดงขอบเขตพื้นที่ ไผ่กลายเป็นแหล่งอาหารของชุมชน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชุมชนได้
ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน